ผมอยากให้ทุกคนเข้าใจประมวลรัษฎากร และนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
สุเทพ พงษ์พิทักษ์

ศึกษาประมวลรัษฎากร ด้วยตนเอง ตอนที่ 3 : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประมวลรัษฎากร (3) หลักและทฤษฎีภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร

บทความวันที่ 26 ก.ค. 2560  .  เขียนโดย อจ.สุเทพ  .  เข้าชม 2818 ครั้ง

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประมวลรัษฎากร (3) 
หลักและทฤษฎีภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร

 

ในตอนนี้ขอนำหลักและทฤษฎีภาษีอากรตามประมวลรัษฎากรมากล่าว เพื่อใช้เป็นกรอบในการศึกษาประมวลรัษฎากร ดังนี้ 

1. ลักษณะภาษีอากรที่ดี

2. หลักการจำแนก "ภาษี" กับ "อากร" 

3. หลักการผลักภาระภาษี

4. หลักผลตอบแทน 

5. หลัก "กฎหมายพิเศษ" และ "กฎหมายทั่วไป" 

6. หลัก กฎหมายเอกชน" และ "กฎหมายมหาชน” 

7. หลักรอบระยะเวลา และหลักความสม่ำเสมอ

8. หลักการใช้หน่วยเงินตราไทยในการคำนวณภาษีอากร 

9. หลักถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน (Reciprocal)

10. หลักกฎหมายปิดปาก

11. หลักเนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ 

12. หลักผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นนำสืบ

13. หลัก แหล่งเงินได้" และ "ถิ่นที่อยู่” (หลักสัญชาติ) 

14. หลัก ความสามารถในการเสียภาษี" และ "ความมั่งคั่ง” 

15. หลักความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บภาษีอากร 

16. หลักการขจัดความซ้ำซ้อนในการเสียภาษีอากร

17. หลักการเลือกเสียภาษี (Final Tax)

18. หลักการยกเว้นและลดหย่อน 

19. หลักการยกเว้น ถ้าจัดเก็บได้ยาก

20. หลักการบริโภค 

21. หลักรายจ่ายของฝ่ายหนึ่ง ต้องเป็นรายได้ของอีกฝ่ายหนึ่ง (ทุกเดบิตต้องมีเครดิตด้วยจำนวนที่เท่ากัน - หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป)

22. หลักการแยกรายการส่วนตัว กับกิจการ

23. หลักความระมัดระวัง

24. หลักการรับรู้รายได้ - รายจ่าย/ค่าใช้จ่าย

25. หลักการถือเป็นรายได้ตามกฎหมาย (Deemed Income) 

26. หลักการเสียภาษีอากรแทนกัน

27. หลัก “PAYE: Pay As You Earn” และภาษีหัก ณ ที่จ่าย

28. หลักการผ่อนชำระ

29. หลักการขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีอากร

30. หลักการเยียวยาให้กลับคืนสภาพเดิม 

31. หลักการโอนกำไรโดยกลไกการตั้งราคา (Transfer Pricing) 

32. หลักภาษีอากรประเมิน 

33. หลักสภาพบังคับ (Sanction) 


โปรดศึกษารายละเอียดเกี่ยวหลักและทฤษฎีภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร (1) และ (2)  รวมทั้ง โครงสร้างภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร ที่ได้โพสต์หรือนำลงไว้ก่อนหน้านี้แล้ว